ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จรูญ สารินทร์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จรูญ สารินทร์

ประวัติรองอธิการบดีฝ่ายกิจการพิเศษ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จรูญ สารินทร์

รองอธิการบดีฝ่ายกิจการพิเศษ

e-mail : charoons@nu.ac.th

วุฒิการศึกษา

ปริญญาเอก
Environmental Science, University of Aberdeen, United Kingdom
 
ปริญญาโท
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
ปริญญาตรี
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ประวัติการทำงาน

ปี พ.ศ.         ตำแหน่ง                สถาบัน

2537 – 2542    อาจารย์                     ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตภาคใต้

2543 – 2546    อาจารย์                     ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

2546 – 2554   อาจารย์                     ภาควิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร

2455 – ปัจจุบัน  ผู้ช่วยศาสตราจารย์       ภาควิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร

ประสบการณ์การบริหาร

2543 – 2544 รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

2544 – 2545 หัวหน้าภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

2548 – 2549 หัวหน้าภาควิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร

2552 – 2553 รองคณบดีฝ่ายวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร

2553 – 2556 รองคณบดีฝ่ายบริหาร สิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร

2556 – 2559 รองคณบดีฝ่ายวิชาการ สิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร

2566 – 2568 รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร

โครงการวิจัย

  1. 2550 ศักยภาพของสารลดแรงตึงผิวชีวภาพที่ผลิตโดยแบคทีเรียในการประยุกต์ใช้ด้านอุตสาหกรรม ปิโตรเลียมและการบำบัดสภาพแวดล้อมที่ปนเปื้อนน้ำมัน (สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ)
  1. 2551 การกำจัดแคดเมียมและสังกะสีในดินโดยใช้สารลดแรงตึงผิวชีวภาพที่ผลิตจากแบคทีเรีย (สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ)
  1. 2552 การกำจัดแคดเมียมและสังกะสีในดินโดยใช้แบคทีเรียที่สร้างสารลดแรงตึงในรูปของเซลล์ตรึงรูป (สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ)
  1. 2554 การประยุกต์ใช้แบคทีเรียที่ผลิตเอนไซม์ยูรีเอสและชักนำให้เกิดตะกอนคาร์บอเนตเพื่อการอนุรักษ์ และซ่อมแซมโบราณวัตถุ (สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ)
  1. 2558 สารรบกวนการทำงานของต่อมไร้ท่อในแม่น้ำน่าน จังหวัดพิษณุโลก (สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ) 2559 การแพร่กระจายของยาปฏิชีวนะและยีนต้านยาปฏิชีวนะที่มาจากของเสียจากฟาร์มสุกรในสิ่งแวดล้อม (สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ)

ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่

2567      Iamsaard, K., Khongdee, N., Rukkhun, R., Sarin, C., Klomjek, P., Umponstira,C,.
Does the Incorporation of biochar into Biodegradable Mulch Films Provide Agricultural Soil Benefits? Polymers. 2024; 16: 1-19. http://dx.doi.org/10.3390/polym16233434.

2567         Vatthanasak A, Juntarawijit C, Jampachaisri K, Sarin C. Pesticide Exposure and Cancer Risk: A CrossSectional Study on Farmers in Nakhon Sawan Thailand. The Open Public Health Journal. 2024; 17:1-9. http://dx.doi.org/10.2174/0118749445360182241129090826.

2567     Umponstira, C., Phothi, R., Sarin, C., Siriwong, W., Nabheerong, N,.Effects of elevated ozone levels on photosynthesis and physiological response in rice (Oryzasativa L.). Academic Journal of Science and Applied Science 2024(1) 23–28.

2567       Noinumsai, S., Klomjek, P., Ratanasut, K., Sarin, C. Occurrence of veterinary antibiotics in waste and environment of small-scale swine farms. ScienceAsia. 2024. 1-8. http://dx.doi.org/10.2306/scienceasia1513-1874.2024.051 

2566       Noinumsai, S., Klomjek, P., Ratanasut, K., Sitdhipol, J., Sarin, C. Antibiotic Resistant Bacteria in Soil Receiving Wastes of Smallholder Swine Farms. Water, Air, & Soil Pollution 2023; 234: 658.

2565

Sarin, C., & Klomjek, P. Spatial and seasonal distribution of microplastic in surface water of Bueng Boraphet Wetland—a Ramsar wetland in Thailand. Environmental Monitoring and Assessment 2022; 194:  904.

2565

 Klomjek, P., Sarin, C. Treatment efficiency and biogas production from anaerobic co-digestion of rice straw and wastewater. Environmental Engineering & Management Journal 2022; (21): 63–74.

2563

Juksu, K., Liu, Y.S., Zhao, J.L., Li, Y., Sarin, C., Sreesai, S., Klomjek, P., Traitangwong, A.,   Ying, G.G. Emerging contaminants in aquatic environments and coastal waters affected by urban wastewater discharge in Thailand: An ecological risk perspective. Ecotoxicology and Environment Safety 2020; 204: 1–11.

2562       Juksu, K., Zhao JL, Liu YS, Li Y, Sarin C, Sreesai S, Klomjek P, Jiang YX, Ying GG. Occurrence, fate and risk assessment of biocides in wastewater treatment plants and aquatic environments in Thailand. Science of the Total Environment 2019; 690: 1110–1119.

2561     Deemoon S, Sarin C, Juksu K, Ying GG, Kritsunankul C, Sriprang S. Occurrence and estrogenic risks of endocrine disrupting chemicals in wet and dry seasons of the Nan River, Phitsanulok, Thailand. Songklanakarin Journal of Science and Technology 2018; 40 (5): 1219-1227.

2561    Jarat C, Sarin C, Ying GG, Klomjek P, Ratanasut K. Use and Contamination of veterinary Antibiotics in Two Swine Farm Systems in Phitsanulok Province, Thailand. EnvironmentAsia 2018; 11(3): 103-116.

2559     Deemoon S, Sarin C, Ying GG, Kritsunankul C, Sriprang S. Occurrence of endocrine disrupting chemicals (EDCs) and estrogenic activity in the Nan River, Phitsanulok, Thailand. EnvironmentAsia 2016; 9(1): 84-91.

2559    Pothi R, Umponstira C, Sarin C, Siriwong W, Nabheerong N. Combining effects of ozone and carbondioxide application on Ptotosysnthesis of Thai jasmine rice (Oryza sativa L.) cultiva Khao Dawk Mali 105. Aust J Crop Sci 2016;10(4): 591-597.

Thailand. Agriculture and Natural Resources 2016; 50(6): 490-498.

2554    S. SarinB. KhamsriC. Sarin. Isolation of biosurfactant – producing bacteria with antimicrobial activity against bacterial pathogens. 2011; 4(2): 1-5

2553      Sarin C., Sarin S. Removal of Cadmium and Zinc from Soil using Immobilized Cell of Biosurfactant. EnvironmentAsia. 2010; 3(2): 49-53.

2551     Sarin S., Sarin C. Production, Isolation and Application of Biosurfactant/bio-emulsifier
by Oil Contaminated Soil Isolate Enterobacter cloacae LK5. Naresuan      University Journal 2008; 16(2): 113 – 125.

 2543     Sarin, C., J M Hall, J Cotter-Howells, K, Killham, M S Cresser.  Influence of complexation with chloride on the responses of a lux-marked bacteria bioassay to cadmium, copper, lead, and mercury. Environmental Toxicology and Chemistry, 2000; 19(2): 259–264.

Loading

ประวัติรองอธิการบดีฝ่ายกิจการพิเศษ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จรูญ สารินทร์

รองอธิการบดีฝ่ายกิจการพิเศษ

e-mail : charoons@nu.ac.th

วุฒิการศึกษา

ปริญญาเอก
Environmental Science, University of Aberdeen, United Kingdom
 
ปริญญาโท
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
ปริญญาตรี
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ประวัติการทำงาน

ปี พ.ศ.         ตำแหน่ง                สถาบัน

2537 – 2542    อาจารย์                     ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตภาคใต้

2543 – 2546    อาจารย์                     ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

2546 – 2554   อาจารย์                     ภาควิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร

2455 – ปัจจุบัน  ผู้ช่วยศาสตราจารย์       ภาควิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร

ประสบการณ์การบริหาร

2543 – 2544 รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

2544 – 2545 หัวหน้าภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

2548 – 2549 หัวหน้าภาควิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร

2552 – 2553 รองคณบดีฝ่ายวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร

2553 – 2556 รองคณบดีฝ่ายบริหาร สิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร

2556 – 2559 รองคณบดีฝ่ายวิชาการ สิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร

2566 – 2568 รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร

โครงการวิจัย

  1. 2550 ศักยภาพของสารลดแรงตึงผิวชีวภาพที่ผลิตโดยแบคทีเรียในการประยุกต์ใช้ด้านอุตสาหกรรม ปิโตรเลียมและการบำบัดสภาพแวดล้อมที่ปนเปื้อนน้ำมัน (สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ)
  1. 2551 การกำจัดแคดเมียมและสังกะสีในดินโดยใช้สารลดแรงตึงผิวชีวภาพที่ผลิตจากแบคทีเรีย (สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ)
  1. 2552 การกำจัดแคดเมียมและสังกะสีในดินโดยใช้แบคทีเรียที่สร้างสารลดแรงตึงในรูปของเซลล์ตรึงรูป (สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ)
  1. 2554 การประยุกต์ใช้แบคทีเรียที่ผลิตเอนไซม์ยูรีเอสและชักนำให้เกิดตะกอนคาร์บอเนตเพื่อการอนุรักษ์ และซ่อมแซมโบราณวัตถุ (สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ)
  1. 2558 สารรบกวนการทำงานของต่อมไร้ท่อในแม่น้ำน่าน จังหวัดพิษณุโลก (สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ) 2559 การแพร่กระจายของยาปฏิชีวนะและยีนต้านยาปฏิชีวนะที่มาจากของเสียจากฟาร์มสุกรในสิ่งแวดล้อม (สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ)

ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่

2567      Iamsaard, K., Khongdee, N., Rukkhun, R., Sarin, C., Klomjek, P., Umponstira,C,.
Does the Incorporation of biochar into Biodegradable Mulch Films Provide Agricultural Soil Benefits? Polymers. 2024; 16: 1-19. http://dx.doi.org/10.3390/polym16233434.

2567         Vatthanasak A, Juntarawijit C, Jampachaisri K, Sarin C. Pesticide Exposure and Cancer Risk: A CrossSectional Study on Farmers in Nakhon Sawan Thailand. The Open Public Health Journal. 2024; 17:1-9. http://dx.doi.org/10.2174/0118749445360182241129090826.

2567     Umponstira, C., Phothi, R., Sarin, C., Siriwong, W., Nabheerong, N,.Effects of elevated ozone levels on photosynthesis and physiological response in rice (Oryzasativa L.). Academic Journal of Science and Applied Science 2024(1) 23–28.

2567       Noinumsai, S., Klomjek, P., Ratanasut, K., Sarin, C. Occurrence of veterinary antibiotics in waste and environment of small-scale swine farms. ScienceAsia. 2024. 1-8. http://dx.doi.org/10.2306/scienceasia1513-1874.2024.051 

2566       Noinumsai, S., Klomjek, P., Ratanasut, K., Sitdhipol, J., Sarin, C. Antibiotic Resistant Bacteria in Soil Receiving Wastes of Smallholder Swine Farms. Water, Air, & Soil Pollution 2023; 234: 658.

2565

Sarin, C., & Klomjek, P. Spatial and seasonal distribution of microplastic in surface water of Bueng Boraphet Wetland—a Ramsar wetland in Thailand. Environmental Monitoring and Assessment 2022; 194:  904.

2565

 Klomjek, P., Sarin, C. Treatment efficiency and biogas production from anaerobic co-digestion of rice straw and wastewater. Environmental Engineering & Management Journal 2022; (21): 63–74.

2563

Juksu, K., Liu, Y.S., Zhao, J.L., Li, Y., Sarin, C., Sreesai, S., Klomjek, P., Traitangwong, A.,   Ying, G.G. Emerging contaminants in aquatic environments and coastal waters affected by urban wastewater discharge in Thailand: An ecological risk perspective. Ecotoxicology and Environment Safety 2020; 204: 1–11.

2562       Juksu, K., Zhao JL, Liu YS, Li Y, Sarin C, Sreesai S, Klomjek P, Jiang YX, Ying GG. Occurrence, fate and risk assessment of biocides in wastewater treatment plants and aquatic environments in Thailand. Science of the Total Environment 2019; 690: 1110–1119.

2561     Deemoon S, Sarin C, Juksu K, Ying GG, Kritsunankul C, Sriprang S. Occurrence and estrogenic risks of endocrine disrupting chemicals in wet and dry seasons of the Nan River, Phitsanulok, Thailand. Songklanakarin Journal of Science and Technology 2018; 40 (5): 1219-1227.

2561    Jarat C, Sarin C, Ying GG, Klomjek P, Ratanasut K. Use and Contamination of veterinary Antibiotics in Two Swine Farm Systems in Phitsanulok Province, Thailand. EnvironmentAsia 2018; 11(3): 103-116.

2559     Deemoon S, Sarin C, Ying GG, Kritsunankul C, Sriprang S. Occurrence of endocrine disrupting chemicals (EDCs) and estrogenic activity in the Nan River, Phitsanulok, Thailand. EnvironmentAsia 2016; 9(1): 84-91.

2559    Pothi R, Umponstira C, Sarin C, Siriwong W, Nabheerong N. Combining effects of ozone and carbondioxide application on Ptotosysnthesis of Thai jasmine rice (Oryza sativa L.) cultiva Khao Dawk Mali 105. Aust J Crop Sci 2016;10(4): 591-597.

Thailand. Agriculture and Natural Resources 2016; 50(6): 490-498.

2554    S. SarinB. KhamsriC. Sarin. Isolation of biosurfactant – producing bacteria with antimicrobial activity against bacterial pathogens. 2011; 4(2): 1-5

2553      Sarin C., Sarin S. Removal of Cadmium and Zinc from Soil using Immobilized Cell of Biosurfactant. EnvironmentAsia. 2010; 3(2): 49-53.

2551     Sarin S., Sarin C. Production, Isolation and Application of Biosurfactant/bio-emulsifier
by Oil Contaminated Soil Isolate Enterobacter cloacae LK5. Naresuan      University Journal 2008; 16(2): 113 – 125.

 2543     Sarin, C., J M Hall, J Cotter-Howells, K, Killham, M S Cresser.  Influence of complexation with chloride on the responses of a lux-marked bacteria bioassay to cadmium, copper, lead, and mercury. Environmental Toxicology and Chemistry, 2000; 19(2): 259–264.

Loading

Translate »
Secured By miniOrange